USERNAME :
PASSWORD :
คู่มือการลงทะเบียน
:
คู่มือการใช้งาน
ประวัติความเป็นมา กฟน.
ประวัติ Young MEA
ข้อมูลโครงการที่ผ่านมา
สถานที่ตั้ง / แผนที่
ข่าวสาร กฟน.
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
ประกาศผลการคัดเลือก
โครงการประกวด
ปฏิทินกิจกรรม
Young MEA Volunteer
ผลงานเยาวชน
ข่าวสารพลังงาน
ข่าวสารสิ่งแวดล้อม
บทความนักเขียน
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การ์ตูนยังเอ็มอีเอ
คนเก่งประจำบ้าน
พลังงาน
พลังงานทดแทน
ความรู้เรื่องการใช้ไฟฟ้า
รู้ใช้น้ำ
การจัดการขยะ
สิ่งแวดล้อม
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เอกสารเผยแพร่
อัลบัมกิจกรรมทั้งหมด
ตามรอย..พลังงาน กับ ก.ฟ.น.
กิจกรรม Youngmea 2556
ชวนน้องลุยทุ่งสนุกกับความพอเพียง
รวมมิตร Dee Mission 2555
รวมน้ำใจช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม
Young MEA Dee Mission 54
Spot การไฟฟ้านครหลวง
Dee Mission 2553
Dee Mission 2554
Dee Mission 2555
Dee Mission 2556
ในหลวงในดวงใจ Dee Mission 2557
เพื่อนคนเก่ง
เม้าท์กัน...มันส์ดี
Blog..บทความน่ารู้
เกมส์
USERNAME :
PASSWORD :
คู่มือการลงทะเบียน
:
คู่มือการใช้งาน
หน้าแรก
ข้อมูลองค์กร
ประวัติความเป็นมา กฟน.
ประวัติ Young MEA
ข้อมูลโครงการที่ผ่านมา
สถานที่ตั้ง / แผนที่
ข่าวสาร ยัง-เอ็มอีเอ
ผลงานเยาวชน
ข่าวสาร กฟน.
รับสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
ประกาศผลการคัดเลือก
โครงการประกวด
ปฏิทินกิจกรรม
คลังความรู้
พลังงาน
พลังงานทดแทน
ความรู้เรื่องการใช้ไฟฟ้า
รู้ใช้น้ำ
สิ่งแวดล้อม
เครื่องใช้ไฟฟ้า
สิ่งแวดล้อม
เอกสารเผยแพร่
อัลบั้มกิจกรรม
มุมสมาชิก
เพื่อนคนเก่ง
เม้าท์กัน...มันส์ดี
Blog..บทความน่ารู้
เกมส์
ติดต่อเรา
ลงทะเบียน
ด้านพลังงาน
ด้านสุขภาพ
ด้านวิทยาศาสตร์
ผสมเทียมปะการังต่อชีวิตเกรทแบร์ริเออร์รีฟ
คณะนักวิทยาศาสตร์ออสเตรเลียพยายามแก้วิกฤตฟอกขาวที่กำลังเป็นภัยคุกคามสำคัญของแนวปะการังเกรทแบร์ริเออร์รีฟ ด้วยการผสมเทียมปะการังในที่เพาะพันธุ์แบบปิด เลี้ยงจนโต แล้วนำกลับไปปล่อยในบริเวณที่ได้รับความเสียหายจากปัญหาปะการังฟอกขาว
โครงการวิจัยนี้ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากมูลนิธิเกรทแบร์ริเออร์รีฟ โดยทีมนักวิทยาศาสตร์จะเก็บไข่และน้ำเชื้อจากปะการังตามธรรมชาติ แล้วนำมาเพาะพันธุ์ในแท็งก์น้ำ เมื่อโตได้ที่ก็นำกลับไปปล่อยในทะเลเพื่อให้ขยายพันธุ์ตามธรรมชาติ และช่วยเพิ่มสิ่งมีชีวิตรอบระบบนิเวศน์ดังกล่าวต่อไป
แนวปะการังเกรทแบร์ริเออร์รีฟ ประกอบไปด้วยแนวปะการังย่อยและเกาะปะการังราว 900 แห่งที่ทอดตัวยาวในทะเลทางตะวันออกของรัฐควีนส์แลนด์เป็นระยะทางถึงกว่า 2,300 กิโลเมตร และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี 1981 เนื่องจากเป็นแหล่งอาศัยของสิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายทางชีวภาพในระดับสูง
อย่างไรก็ตาม นับแต่ปี 1998 เป็นต้นมา แนวปะการังแห่งนี้ได้เกิดการฟอกขาวครั้งใหญ่ขึ้นแล้วอย่างน้อย 4 ครั้ง โดยอุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้นเนื่องจากดูดซับความร้อนจากบรรยากาศโลก ทำให้ปะการังเกิดภาวะเครียดและขับเอาสาหร่ายซูแซนเทลลีซึ่งอาศัยในปะการังและเป็นตัวสร้างสีออกไป จนปะการังกลายเป็นสีขาว ปะการังที่ฟอกขาวแล้วสามารถฟื้นตัวได้หากสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น แต่ต้องใช้เวลาหลายสิบปี แต่หากเกิดการฟอกขาวติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้ปะการังตายได้
ที่มา : http://www.bbc.com/thai/features-42351674
Tweet
COPYRIGHT © 2016 YOUNG MEA. ALL RIGHTS RESERVED.
เยาวชน อนุรักษ์พลังงาน สิ่งแวดล้อม ประหยัดไฟ โดย การไฟฟ้านครหลวง
COPYRIGHT © 2016 YOUNG MEA. ALL RIGHTS RESERVED. R
COPYRIGHT © 2016 YOUNG MEA. ALL RIGHTS RESERVED.